Friday, May 7, 2010

โครงการ Smart Service ของ NECTEC

NECTEC อยู่ในระหว่างการร่าง Roadmap เพื่อส่งเสริมการทำ Smart Service ในสี่ภาคอุตสาหกรรม ได้แก่ Smart Farm, Smart Health, Smart Tourism, และ Smart Education ตามรายละเอียดที่เสนอข้างล่าง ท่านที่สนใจ ติดตามได้จาก NECTEC ต่อไป

การประชุมระดมความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัย ประเด็นท้าท้ายต่อการขับเคลื่อน Smart Services ของประเทศไทย (Smart Services in Service Research Innovation Institute in Thailand)
“การพัฒนาวิจัย และนวัตกรรมการบริการในประเทศไทย”

วันที่ 7-8 พฤษภาคม 2553 ณ โรงแรมกรุงศรีรเิ วอร ์อ.เมือง จ.พระนครศรีอยุธยา

1. หลักการและเหตุผล ประเทศไทยเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ที่พึ่งพารายไดจ้ ากการผลิตสินคา้ เพื่อการส่งออกอย่างสูง ซึ่งในปัจจุบันอุตสาหกรรมการผลิตมีการปรับตัวเพื่อนำบริการมาผสมกับสินคา้ และนำเสนอต่อลูกคา้ ควบคู่กันไป ทั้งนี้ เนื่องมาจากเมื่อเทคโนโลยีการผลิตมีความทันสมัย ผูผ้ ลิตส่วนใหญ่สามารถผลิตสินคา้ ที่มีคุณภาพไดเ้ป็นจำนวนมากดว้ ยตน้ ทุนตํ่า ดังนั้น การบริการจึงถูกนำมาใชเ้พื่อเพิ่มมูลค่า และเอกลักษณ์ของสินคา้ ในสภาพที่มีการแข่งขันสูงของตลาด ช่วยใหน้ ำรายไดเ้ขา้ ประเทศเป็นมูลค่าสูง และทำใหเ้กิดการจ้างงานเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวซึ่งเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่นำรายไดเ้ขา้ ประเทศเป็นอย่างมากในแต่ละปี จึงอาจกล่าวได้ว่า ภาคบริการ นั้นมีบทบาทและความสำคัญต่อเศรษฐกิจไทยเพิ่มขึ้นตามลำดับ ทั้งในด้านมูลค่าและด้านสัดส่วนแรงงาน และจะเป็นแรงขับเคลื่อนที่สำคัญของเศรษฐกิจไทยในอนาคต การเติบโตของภาคบริการ มีผลมาจากแรงขับเคลื่อนหลายประการอันมีมูลเหตุสำคัญมาจากการปรับเปลี่ยนวิธีดำเนินงานให้เ้ข้า้กับสภาวะแว้ดล้อมการบริหารองค์กรที่เปลี่ยนแปลง เพื่อให้อยู่่รอดในสภาพที่มีการแข่งขันสูง ดังนั้น การผลักดันงานภาคบริการของประเทศไทย จำเป็นต้องกำหนดแนวทางการพัฒนาวิจัยและนวัตกรรมการบริการในประเทศไทย (Smart service) โดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน (Co-creation) เพื่อการเสริมสร้า้งศักยภาพและความชำนาญเฉพาะด้า้นการสร้า้งนวัตกรรม (Innovation) การสร้า้งสรรค์คุณค่า (Value creation) ให้กับการบริการ ในการนี้ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) จึงเห็นควรให้จัดการประชุมระดมความคิดเห็นเรื่อง “ประเด็นท้า้ทา้ยต่อการขับเคลื่อน Smart Services ของประเทศไทย (Smart Services in Service Research Innovation Institute in Thailand) การพัฒนาวิจัยและนวัตกรรมการบริการในประเทศไทย” ขึ้น ในวันที่ 6-8 พฤษภาคม 2553 เพื่อรับฟังความคิดเห็นจากนักวิจัย นักวิชาการ ผูเ้ชี่ยวชาญผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และผู้บริหารจากหน่วยงานภายในและภายนอก สำหรับการจัดทำแนวทางการพัฒนาวิจัยและนวัตกรรมการบริการในประเทศไทยดังกล่าว โดยมีประเด็นการประชุมระดมความคิดเห็นดังนี้

1) ความก้า้วหน้า้ของวิวัฒนาการและนวัตกรรมในระยะอนาคต 5 ปี
2) การแก้ไ้ขปัญหาที่ต้นเหตุของการพัฒนาวิจัยและนวัตกรรมการบริการในประเทศไทย
3) ศักยภาพในการแข่งขันเชิงกลยุทธ์และการพัฒนาบุคลากร
4) การค้นคว้า้วิจัยเพื่อเทคโนโลยี และนวัตกรรมที่มีการร่วมมือกับพันธมิตรและภาคเอกชน
5) การบูรณการด้า้นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
6) ผลประโยชน์และคุณค่าที่สามารถประเมินได ้
7) ประสบการณ์ของผูเ้ชี่ยวชาญในแต่ละด้า้น
8) การกำหนดและสรรหาพันธมิตรกลยุทธ์

2. วัตถุประสงค์

2.1 ระดมความคิดเห็นต่อแนวคิด ทิศทาง และรูปแบบการให้บริการของการพัฒนาวิจัยและนวัตกรรมการบริการในประเทศไทย รวมถึงบทบาทของ ICT ทั้งในการสนับสนุน (Enabling) หรือ เปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ (Paradigm shift) การให้บริการดังกล่าว
2.2 ระดมความคิดเห็นต่อทิศทาง เป้าหมาย และยุทธศาสตร์เพื่อขับเคลื่อนการให้บริการการพัฒนาวิจัยและนวัตกรรมการบริการในประเทศไทย
2.3 รวบรวมข้อเสนอแนะเชิงนโยบายจากผูเ้ชี่ยวชาญ เพื่อใช้เ้ป็นข้อมูลประกอบในการจัดทำกรอบนโยบายการพัฒนาวิจัยและนวัตกรรมการบริการในประเทศไทย
3. ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับแนวทางการพัฒนาวิจัยและนวัตกรรมการบริการในประเทศไทย (Smart service) ในระยะอนาคต 5 ปี เพื่อใช้ประกอบการจัดทำ Roadmap
4. ผู้เข้าร่วมการประชุมการประชุมระดมความคิดเห็นฯ จะมีผู้เ้ข้า้ร่วมประชุมประมาณ 50 ท่าน ประกอบด้วย
  • ผู้ทรงคุณวุฒิ/ ผูเ้ชี่ยวชาญ ผู้แ้ทนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมที่เกี่ยวข้อง
  • ผู้แ้ทนระดับสูงจากกระทรวง/กรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
  • นักวิจัย นักวิชาการ ผูเ้ชี่ยวชาญ และผู้บริหารจากศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ รวมทั้งผู้บริหาร ที่ปรึกษาสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
5. วันเวลา และสถานที่จัดงาน ระยะเวลา 2 วัน คือ ระหว่างวันที่ 7 - 8 พฤษภาคม 2553 ณ โรงแรมกรุงศรีริเวอร์ อ.เมือง จ.พระนครศรีอยุธยา

No comments:

Post a Comment