การประชุมระดมความคิดเห็นผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัย ประเด็นท้าท้ายต่อการขับเคลื่อน Smart Services ของประเทศไทย (Smart Services in Service Research Innovation Institute in Thailand)
“การพัฒนาวิจัย และนวัตกรรมการบริการในประเทศไทย”
วันที่ 7-8 พฤษภาคม 2553 ณ โรงแรมกรุงศรีรเิ วอร ์อ.เมือง จ.พระนครศรีอยุธยา
1. หลักการและเหตุผล ประเทศไทยเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ที่พึ่งพารายไดจ้ ากการผลิตสินคา้ เพื่อการส่งออกอย่างสูง ซึ่งในปัจจุบันอุตสาหกรรมการผลิตมีการปรับตัวเพื่อนำบริการมาผสมกับสินคา้ และนำเสนอต่อลูกคา้ ควบคู่กันไป ทั้งนี้ เนื่องมาจากเมื่อเทคโนโลยีการผลิตมีความทันสมัย ผูผ้ ลิตส่วนใหญ่สามารถผลิตสินคา้ ที่มีคุณภาพไดเ้ป็นจำนวนมากดว้ ยตน้ ทุนตํ่า ดังนั้น การบริการจึงถูกนำมาใชเ้พื่อเพิ่มมูลค่า และเอกลักษณ์ของสินคา้ ในสภาพที่มีการแข่งขันสูงของตลาด ช่วยใหน้ ำรายไดเ้ขา้ ประเทศเป็นมูลค่าสูง และทำใหเ้กิดการจ้างงานเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวซึ่งเป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่นำรายไดเ้ขา้ ประเทศเป็นอย่างมากในแต่ละปี จึงอาจกล่าวได้ว่า ภาคบริการ นั้นมีบทบาทและความสำคัญต่อเศรษฐกิจไทยเพิ่มขึ้นตามลำดับ ทั้งในด้านมูลค่าและด้านสัดส่วนแรงงาน และจะเป็นแรงขับเคลื่อนที่สำคัญของเศรษฐกิจไทยในอนาคต การเติบโตของภาคบริการ มีผลมาจากแรงขับเคลื่อนหลายประการอันมีมูลเหตุสำคัญมาจากการปรับเปลี่ยนวิธีดำเนินงานให้เ้ข้า้กับสภาวะแว้ดล้อมการบริหารองค์กรที่เปลี่ยนแปลง เพื่อให้อยู่่รอดในสภาพที่มีการแข่งขันสูง ดังนั้น การผลักดันงานภาคบริการของประเทศไทย จำเป็นต้องกำหนดแนวทางการพัฒนาวิจัยและนวัตกรรมการบริการในประเทศไทย (Smart service) โดยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน (Co-creation) เพื่อการเสริมสร้า้งศักยภาพและความชำนาญเฉพาะด้า้นการสร้า้งนวัตกรรม (Innovation) การสร้า้งสรรค์คุณค่า (Value creation) ให้กับการบริการ ในการนี้ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) จึงเห็นควรให้จัดการประชุมระดมความคิดเห็นเรื่อง “ประเด็นท้า้ทา้ยต่อการขับเคลื่อน Smart Services ของประเทศไทย (Smart Services in Service Research Innovation Institute in Thailand) การพัฒนาวิจัยและนวัตกรรมการบริการในประเทศไทย” ขึ้น ในวันที่ 6-8 พฤษภาคม 2553 เพื่อรับฟังความคิดเห็นจากนักวิจัย นักวิชาการ ผูเ้ชี่ยวชาญผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และผู้บริหารจากหน่วยงานภายในและภายนอก สำหรับการจัดทำแนวทางการพัฒนาวิจัยและนวัตกรรมการบริการในประเทศไทยดังกล่าว โดยมีประเด็นการประชุมระดมความคิดเห็นดังนี้
1) ความก้า้วหน้า้ของวิวัฒนาการและนวัตกรรมในระยะอนาคต 5 ปี
2) การแก้ไ้ขปัญหาที่ต้นเหตุของการพัฒนาวิจัยและนวัตกรรมการบริการในประเทศไทย
3) ศักยภาพในการแข่งขันเชิงกลยุทธ์และการพัฒนาบุคลากร
4) การค้นคว้า้วิจัยเพื่อเทคโนโลยี และนวัตกรรมที่มีการร่วมมือกับพันธมิตรและภาคเอกชน
5) การบูรณการด้า้นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
6) ผลประโยชน์และคุณค่าที่สามารถประเมินได ้
7) ประสบการณ์ของผูเ้ชี่ยวชาญในแต่ละด้า้น
8) การกำหนดและสรรหาพันธมิตรกลยุทธ์
2. วัตถุประสงค์
2.1 ระดมความคิดเห็นต่อแนวคิด ทิศทาง และรูปแบบการให้บริการของการพัฒนาวิจัยและนวัตกรรมการบริการในประเทศไทย รวมถึงบทบาทของ ICT ทั้งในการสนับสนุน (Enabling) หรือ เปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ (Paradigm shift) การให้บริการดังกล่าว
2.2 ระดมความคิดเห็นต่อทิศทาง เป้าหมาย และยุทธศาสตร์เพื่อขับเคลื่อนการให้บริการการพัฒนาวิจัยและนวัตกรรมการบริการในประเทศไทย
2.3 รวบรวมข้อเสนอแนะเชิงนโยบายจากผูเ้ชี่ยวชาญ เพื่อใช้เ้ป็นข้อมูลประกอบในการจัดทำกรอบนโยบายการพัฒนาวิจัยและนวัตกรรมการบริการในประเทศไทย
3. ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับแนวทางการพัฒนาวิจัยและนวัตกรรมการบริการในประเทศไทย (Smart service) ในระยะอนาคต 5 ปี เพื่อใช้ประกอบการจัดทำ Roadmap
4. ผู้เข้าร่วมการประชุมการประชุมระดมความคิดเห็นฯ จะมีผู้เ้ข้า้ร่วมประชุมประมาณ 50 ท่าน ประกอบด้วย
- ผู้ทรงคุณวุฒิ/ ผูเ้ชี่ยวชาญ ผู้แ้ทนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมที่เกี่ยวข้อง
- ผู้แ้ทนระดับสูงจากกระทรวง/กรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
- นักวิจัย นักวิชาการ ผูเ้ชี่ยวชาญ และผู้บริหารจากศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ รวมทั้งผู้บริหาร ที่ปรึกษาสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
No comments:
Post a Comment